วันพุธที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2550

การประชุม 10-11 กันยายน 2550

ห้องประชุมศูนย์สารสนเทศ กรมวิชาการเกษตร
1 ทบทวนขั้นตอนการทำงานตั้งแต่การสร้าง หน่วยการผลิต และการสร้าง X file run DSSAT
ปัญหาในการทำงาน
การกำหนดวันปลูกวันเก็บเกี่ยวเกินข้อมูลที่จัดไว้ให้ เมื่อรันโมเดลแล้วไม่ได้ เช่น ข้อมูลเก็บเกี่ยวปี 2550 แต่ปัจจุบันเรามีข้อมูลเพียง 2549 แก้ไขโดย ประสานงานขอข้อมูลจากกรมอุตุ สถานีที่อยู่ข้างเคียง หากอยู่ห่างไกลให้แจ้ง รหัสสถานีให้วลัยพรทราบ เพื่อประสานงานขอข้อมูลไปที่กรมอุตุอีกครั้ง
นนสด ตันต่อไร่ หารด้วย 0.00047 เป็นหน่วย กก./เฮกตาร์
Summary.out
Overview.out
Growth.out
ทั้ง 3 ไฟล์จะถูกทับทุกครั้งที่มีการรันโมเดล หากต้องการจัดเก็บไว้ต้อง copy ออกไป
การจัดการข้อมูลที่มี .bak เนื่องจากผลของไฟล์ window commander
สรุป
นำ excel ข้อมูลแปลงทดสอบเพื่อค้นหา ดินและอากาศ
2 การเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม กุลสิริ(สถาบันวิจัยพืชไร่) แบบสอบถาม 2 กลุ่ม เน้นการเก็บข้อมูลในทุกประเด็นเพื่อให้ครอบคลุม ส่วนจำนวนอาจไม่ได้ตามเป้าหมายก็ได้ การสรุปแบบสอบถามต้องสมบรูณ์
มีข้อคิดเห็นเกี่ยวกับแบบสอบถาม
เป้าหมายหลักในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการเพื่อให้ได้ข้อมูล นัดเกษตรกรมารวมกันสัมภาษณ์ รายแปลง รัศมีรอบโรงงานเป็นจุดเริ่มต้นแทนการสุ่มจากจำนวนเกษตรกรผู้ปลูกมัน
การส่งแบบสอบถาม สถาบันจะทบทวนอีกครั้ง
3 แนะนำการใช้งาน PDA
-มีอะไรในกล่อง os win CE pg powermap ซึ่งติดตั้งใน PDA แล้ว ความเร็ว 400 G memory 64 M ใช้ SD size 1 Gbyte ฟังเพลงได้ เสียงไม่เพราะเท่า MP3 GPS embedded
การ syn
ใช้แผ่นติดตั้ง เพื่อติดตั้ง Microsoft activesyn และทำตามลำดับ ใส่ชื่อเครื่องตามชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ติดต่อ แล้วให้ restart
get connect ตามลำดับที่เขาแนะนำ ระบบจะสแกน port ต่างๆ แต่ไม่เกี่ยวกัน cancel ไป เลือก USB port เพื่อใช้งาน ครั้งต่อไปเมื่อเชื่อมต่อจะสามารถ detect ได้เอง
ใส่ชื่อเครื่อง เมื่อเครื่องติดต่อกันแล้วจะปรากฎชื่อ การตั้งชื่อจะปรากฏเป็นชื่อผู้ใช้ในซอฟท์แวร์ต่างๆ
4. align
สวพ 2 ขาด อากาศนครสวรรค์
400201
ดูฝา ใช้ showgraph เลือก new เปิดไฟล์อากาศ เปรียบเทียบ
มันเส้น คำนวณจาก 38% มันสด สวพ2
งาน
จากแผนที่ปลูกมัน ให้นำไปตัดด้วยสวพตัวเอง แล้วนำไป ซ้อนทับกับอากาศ ดิน
สร้าง Smu code จาก รหัสอากาศ รวมกับดิน โดยการเพิ่มฟิลด์ แล้วคำนวณรวมกัน
Summary เลือกข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันมาจำลอง station_code and id soil
นำไปจำลองทั้งจังหวัด
Run แต่ละพันธุ์ นำข้อมูลมาเปรียบเทียบด้วย excel
Save as dbf file แล้ว join with smu file

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น